top of page
Buddhists Praying

เกี่ยวกับวัดกลางบางพระ

ประวัติความเป็นมา

วัดกลางบางพระ ตำบลบางพระ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

วัดกลางบางพระ เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่ในตำบลบางพระ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม มีพื้นที่กว่า 24 ไร่ 

วัดกลางบางพระสันนิษฐานว่าสร้างประมาณ พ.ศ. 2326 สร้างขึ้นบริเวณพระพุทธปฏิมากรจมน้ำ อยู่ตรงกลางระหว่างวัดบางพระกับวัดศรีมหาโพธิ์ จึงมีชื่อว่า "วัดกลางบางพระ" มีเรื่องเล่าว่า เมื่อ พ.ศ. 2300 พม่าได้เข้าตีกรุงศรีอยุธยา ทั้งข้าราชบริพารและชาวบ้าน

พระพุทธปฏิมากร และต้นศรีมหาโพธิ์ ได้ถูกอพยพไปทางเรือจากแม่น้ำเจ้าพระยาจนถึงคลองบางพระ ระหว่างทางเกิดพายุทำให้เรือล่ม

พระพุทธปฏิมากรนั้น จมน้ำ แต่ต้นศรีมหาโพธิ์ลอยไปตามน้ำจากคลองบางพระไปจนถึงตำบลศรีมหาโพธิ์ที่เป็นบริเวณพื้นที่ดอน

ต้นศรีมหาโพธิ์ได้เติบโตที่บริเวณนั้น วัดกลางบางพระได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2338

ปูชนียวัตถุที่สำคัญ คือ หลวงพ่อสมหวัง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยหรือสะดุ้งมาร ก่ออิฐถือปูนด้วยกระเบื้องโมเสก จัดสร้างโดย พระครูสุนทรวุฒิคุณ (หลวงพ่อพุฒ สุนทโร) เมื่อ พ.ศ. 2524 เมื่อสร้างเสร็จได้บรรจุมวลสาร แผ่นชนวนต่าง ๆ และประกอบพิธีพุทธาภิเษก พร้อมกับอัญเชิญ พระพุทธรูป 9 นิ้ว จำนวน 99 องค์ บรรจุไวัใน องค์หลวงพ่อสมหวัง ประชาชนมักมากราบไหว้ขอพรแก้บนมาก ซึ่งส่วนใหญ่จะประสบผลในเรื่องของการซื้อขายที่ดิน ประสบผลในการการค้า ตำแหน่งหน้าที่การงาน

BTT00538.JPG
Buddhists Praying

ชีวประวัติหลวงพ่อพุฒ

พระครูสุนทรวุฒิคุณ (หลวงพ่อพุฒ สุนทฺโร)

อดีตเจ้าอาวาสวัดกลางบางพระ ต าบลบางพระจังหวัดนครปฐม

นามเดิมท่านมีชื่อว่า พุฒ นามสกุล หาญสมัยเกิดเมื่อวัน ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๔๕๓ ตรงกับวันศุกร์ข้ึน ๑๓ คำ่ เดือน ๑๒ ปี จอ ณ บ้านเลขที่๘ หมู่ที่๔ ตำบลบางพระอำเภอนครชัยศรีจังหวัดนครปฐม บิดาของท่านชื่อ นายขำ หาญ สมัย มารดาของท่านชื่อ นางปาน หาญสมัย ซึ่งท่านมีพี่น้องด้วยกัน ๕ คน คือ ๑.นางสาวบุญรอด หาญสมัย (ถึงแก่กรรมแล้ว) ๒.พระครูสุนทรวุฒิคุณ (หลวงพ่อ พุฒ สุนทฺโร) ถึงแก่มรณภาพแล้ว ๓.นางปุ่น นาคละมัย (ถึงแก่กรรมแล้ว) ๔.นายปั่น หาญสมัย (ถึงแก่กรรมแล้ว) ๕.นางบุญนาคกลั่น สนิท (ถึงแก่กรรมแล้ว) การศึกษาเล่าเรียนนั้น หลวงพ่อ พุฒ ท่านได้ความรู้ติดตัวและเรียนมาจากวัด ซึ่งต่อมาได้จบการศึกษาสายสามัญ ชั้น ประถมปีที่๔ จากโรงเรียนวัดกลางบางพระอำเภอนครชัยศรีจังหวัดนครปฐม ครอบครัวของท่านแต่เดิมมีอาชีพทำ นา ดังนั้น ท่านจึงต้องช่วยเหลือครอบครัวของท่านทำ มาหากินในช่วงชีวิตเยาว์วัย ชีวิตของท่านจึงเต็มไปด้วยการต่อสู้ จนกลายมาเป็นนิสัยของท่านที่มีความกระตือรือร้น ขยัน หมั่น เพียรอุตสาหะรวมทั้งยังเป็นผู้ที่รู้จักเก็บออม ด้วยความที่ รู้จักค่าของเงินที่ได้มาอย่างยากยิ่ง ท่านเป็นผู้ที่ใฝ่ในการศึกษาหาความรู้เมื่อท่านอายได้๒๐ ปีด้วยเจตนาที่จะศึกษาต่อ ในเพศพรหมจรรย์แต่ชีวิตของท่านก็ต้องผกผันไปเมื่อท่านต้องเข้ารับการคัดเลือกราชการทหาร หรือที่เราเรียกกันว่า "เกณฑ์ทหาร" ในที่สุดท่านก็ต้องเข้ารับใช้ชาติเป็นทหารรักษาพระองค์อยู่ถึง ๒ ปี เมื่อครบกา หนดการรับราชการ ทหารแล้ว ท่านก็ได้กลับ มาสู่บ้านเกิดอีกคร้ังการกลับ มาในคร้ังน้ีมิได้เปลี่ยนชีวิตการทำ อาชีพของท่านและครอบครัว ของท่านแต่อย่างใด ท่านกลับ มาช่วยบิดา มาดา ทำ นาเช่นเดิม แต่ท่านไม่เคยเบื่อหน่ายกลับขยันขันแข็ง อดทน พยายาม รู้จักกตัญญูกตเวที คร้ันแล้วความเปลี่ยนแปลงก็ได้เข้ามาสู่ชีวิตของท่านอีกคร้ัง หลังปลดจากการรับราชการทหารแล้วได้กลับมา ช่วยบิดา มารดาทา งานอย่างขยันขันแข็งจนผู้คนในหมู่บ้าน และละแวกใกล้เคียง ชื่นชมยิน ดีส่งเสริมในการทำงานอย่าง จริงจังของท่าน ท่านดำเนินชีวิตอยู่ในกรอบศีลธรรมอันดีงาม จนชาวบ้านในท้องถิ่นต่างเสนอให้ทางราชการแต่งตั้ง ท่านเป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่๔ ตำบลวัดละมุด อำเภอนครชัยศรีจังหวัดนครปฐม ในขณะที่ท่านดำรงตำ แหน่งผู้ใหญ่บ้าน อยู่นั้น ท่านได้เพียรพยายามทำ หน้าที่ของตนเป็นอย่างดีแต่สิ่งหน่ึงที่ท่านไม่เคยลืม ก็คือเรื่องของศีลธรรมในการที่จะ หน้าที่ ๑ อยู่ร่วมกัน จนประชาชนในหมู่บ้านที่อยู่ร่วมกัน เกิดความสงบสุขในการดูแลของท่าน สมกับ ที่ชาวบ้านให้ความ ไว้วางใจและความเคารพเชื่อฟัง อย่างไรก็ตาม แม้การทำงานของท่านจะได้ร้บความร่วมมือจากบรรดาชาวบ้าน ภายใต้การปกครองของท่านจนเกิดความร่มเย็น เป็นสุข ซึ่งหากเป็นผู้อื่นอาจจะมักใหญ่ใฝ่สูงต้องการเลื่อนตำแหน่งทางราชการแต่ท่านหาเป็นเช่นนั้นไม่ท่านก็ยังเป็นผู้ใหญ่พุฒที่ไม่เห็นแก่ลาภยศสรรเสริญ แต่ท่านกลับ มองเห็นในทางตรงกันข้ามด้วยความรู้สึกที่เบื่อหน่ายในชีวิตความเป็นฆราวาส ด้วยการศึกษาทางธรรมที่ได้เคยได้รับ จากพระอาจารย์ในละแวกนั้น ซึ่งท่านยังคงฝังใจ ในการรับใช้พระพุทธศาสนาภายใต้ร่มกาสาวพัตรแห่งเพศพรหมจรรย์แต่นั้นก็เป็นเพียงความรู้สึกในใจของท่านแต่ ท่านก็ได้ทำหน้าที่อย่างดีที่สุดในฐานะผู้ใหญ่บ้าน จนเวลาผ่านไปถึง ๕ ปี เต็ม เหมือนพรหมลิขิตชีวิตของผู้ใหญ่พุฒ ให้ เข้าสู่สมณะเพศในพระพุทธศาสนาแม้ว่า ท่านจะทำหน้าที่ผู้ใหญ่บ้านถึง ๕ ปี เต็ม แต่ในความรู้สึกของท่านก็ยังหวังที่จะ ได้บวชในพระพุทธศาสนา เมื่อได้เวลาและโอกาส ท่านจึงขออนุญาตบิดา มารดา ลาชีวิตทางโลกเข้าสู่ร่มกาสาวพัตรด้วย ศรัทธาอานิสงค์ความหวังของท่านในคร้ังน้ีมีแต่ผู้ร่วมอนุโมทายินดีแล้วในวันที่ ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ ผู้ใหญ่พุฒ ก็ตัดชีวิตทางโลกเข้าสู่ร่มกาสาวพัตรในรูปพระสงฆ์ณ พัทธสีมาวัดบางพระ ตำบลบางแก้วฟ้าอำเภอนครชัย ศรีจังหวัดนครปฐม ซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงคร้ังยิ่ง ใหญ่ในชีวิตของท่าน โดยมีเจ้าอธิการหิ่ม อินทฺโชโต เจ้าอาวาส วัดบางพระ เป็นพระอุปัชฌาย์พระอาจารย์ทองอยู่วัดบางพระ เป็ นพระกรรมวาจาจารย์และพระอาจารย์เปลี่ยน วัดบางพระเป็นพระอนุสาวนาจารย์โดยได้รับฉายาว่า “สุนฺทโร” เมื่อหลวงพ่อ พุฒ หรือพระภิกษุพุฒ ในสมัยนั้น อุปสมบทใหม่ๆ ท่านมีความมุ่งมั่น ในการศึกษาพระธรรมวินัย และเมื่อท่านมีโอกาส ท่านก็ศึกษาตำหรับตำราต่างๆ ซึ่งค่อนข้างจะแปลกกว่า พระรูปอื่นเพราะท่านไม่ชอบปล่อยเวลา ให้ล่วงไปอย่างไร้ค่า ซึ่งตำหรับตำราในสมัยนั้นก็หายากไม่มีมากเหมือนในสมัยปัจจุบัน หนังสือที่ท่านให้ความสนใจ เป็นพิเศษส่วนมากก็เป็นหนังสือประเภทธรรมมะและตำรายาแผนโบราณ และในปีแรกนั้นคือในปี พ.ศ.๒๔๘๙ ท่านก็สามารถสอบนักธรรมชั้น ตรีได้และต่อ มาอีก ๒ ปีคือในปีพ.ศ.๒๔๙๑ ท่านก็สอบนักธรรมชั้นโทและชั้น เอกได้โดย ลำดับ จะเห็นได้ว่า ท่านเป็นผู้ที่ฝักใฝ่ในการศึกษาอย่างแท้จริง ด้วยสติปัญญาที่ดีการท่องจำการสวดมนตข์องท่าน เรียก ได้ว่า ไม่น้อยหน้าใครจนถึงปัจจุบัน น้ีก็ยังคงมีผู้คนกล่าวขานอยู่ตลอดจนเป็นที่ยอมรับของคฤหัสและบรรพชิต ไม่ว่าจะ เป็นการสวดมนต์เจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน ท่านก็สามารถที่ท่อง จำและแปลได้อย่างแตกฉาน อีกท้งัยงัเป็นผูช านาญใน ้ การเทศนาโวหารเป็นที่ยกยอ่ งของสาธุชนทวั่ ไป แต่การศึกษาอยา่ งเดียวมิใช่ทางที่จะทา ใหท้ ่านเขา้ถึงแก่นแทข้อง พระพุทธศาสนา ท่านจึงเห็นความสา คญของการ ั ปฏิบัติเมื่อท่านมีความเขา้ใจในด้านปริยัติท่านกเ็พยีรพยายามหาวธิี ปฏิบัติเพื่อความเข้าใจ ท่านจึงเริ่มออกธุดงคไ์ปยงัสถานที่ต่างๆที่ก่อใหเ้กิดความสงบ วิเวกเพื่อการบริกรรมภาวนา ต้งั จิตอธิษฐาน เพื่อสมาธิอนั เป็นที่มาในการพจิารณาเหตุปัจจยัต่างๆ ซ่ึงต่อมาท่านได้ศึกษาต ารายาสมุนไพรจากหมอ ชาวบา้นซ่ึงเป็นที่เชื่อถือของประชาชนทวั่ ไปในสมยัน้นั ต ารายาแผนโบราณน้นั ท่านใหค้วามสนใจเป็นพิเศษ เนื่องจาก ความห่างไกลจากหมอและยา ท่านจึงคิดที่จะช่วยเหลือชาวบา้นจากตา ราที่ท่านศึกษามารวมไปจนถึงวชิาอาคมต่างๆซ่ึง ท่านไดศ้ึกษามาจากพระเกจิอาจารยซ์่ึงมีชื่อเสียงในยคุ น้นั อาทิเช่น หลวงพอ่ หิ่มวดับางพระ หลวงพอ่ แช่มวดัตากอ้ง หน้าที่ ๒ หลวงพอ่ กี๋วดัหูชา้ง หลวงพอ่ เพมิ่ วดักลางบางแกว้ หลวงพอ่ นอ้ยวดัศรีษะทอง ซ่ึงถา้นบัยอ้นหลงัไปสู่อดีตเมื่อ ๕๐ ปี ที่ ผา่ นมาจงัหวดันครปฐมเป็นศูนยก์ลางในการกา เนิดพระเกจิอาจารย์ที่มีข้อวัตรปฏิบัติเป็ นที่เคารพนับถือศรัทธาของ ประชาชนทวั่ ไป และไดถ้่ายทอดวชิาอาคมใหแ้ก่บรรดาศิษยส์ืบทอดต่อกนั มา พระอธิการพุฒ กับวัดกลางบางพระ หลังจากที่หลวงพอ่ พฒุ ไดอุ้ปสมบทและศึกษาพระธรรมวนิยัตลอดจนวชิาคาถาอาคมต่างๆ รวมท้งัออกธุดงค์ ได้เพียง ๖ พรรษา ในปีพ.ศ.๒๔๙๕ เจ้าอาวาสองค์ที่๖ ของวัดกลางบางพระได้มรณภาพลง ทางคณะสงฆ์ชาวบ้าน ตลอดจนคณะกรรมการวัด ได้นิมนต์ท่านข้ึนดา รงตา แหน่งเป็นเจา้อาวาสของวดักลางบางพระเป็นองคท์ ี่๗ จึงไดน้ ามวา่ “พระอธิการพุฒ” ต้งัแต่น้นั เป็นตน้ มา พระอธิการพุฒ หลังจากที่ได้รับภาระหน้าที่เจ้าอาวาสแล้วก็มีความมุ่งมนั่ ที่จะบูรณปฏิสงัขรณ์วัดกลางบางพระ ใหอ้ยใู่ นสภาพที่ใชง้านไดเ้หมือนวดัทวั่ ไป เพราะสภาพสิ่งต่างๆไดช้า รุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ซึ่งมีโบราณสถาน และวัตถุที่ปรากฏอยภู่ ายในวัดกลางบางพระและมีค่าทางประวตัิศาสตร์ควรค่าแก่การอนุรักษไ์วใ้หลู้กหลานรุ่นหลงัได้ ดูพระอธิการพุฒ ไดดู้แลเอาใจใส่อยา่ งทวั่ ถึงโดยการบูรณปฏิสังขรณ์รวมท้งัการสร้างถาวรวตัถุที่จา เป็นให้เหมาะสม วดักลางบางพระจึงมีความเจริญรุ่งเรืองดงัที่ปรากฏจนทุกวนั น้ี พระอธิการพุฒกบัการพฒั นาวดัโดยลา ดบั ต้งัแต่ปีพ.ศ.๒๔๙๕ หลงัจากที่พะอธิการพฒุ ในสมยัน้นั ไดร้ับการแต่งต้งัเป็นเจา้อาวาสของวดักลางบางพระก็ ได้ท าการพัฒนาวัด บูรณปฏิสังขรณ์เรื่อยมาโดยไดเ้ริ่มมีการวางผงัวดัใหม่เพอื่ สร้างถาวรวตัถุต่างๆ ซ่ึงในสมยัน้นั วดัเป็น ที่ลุ่มตอ้งทา การถมดินเป็นจา นวนมากโดยได้รับแรงศรัทธาจากชาวบ้านซึ่งต้องใช้แรงงานคน ชาวบา้นก็ใหค้วาม ร่วมมือเป็นอยา่ งดีต่อมาไดท้ า การซ่อมแซมบูรณะอุโบสถเพราะช ารุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา เมื่อบูรณะอุโบสถ เป็ นที่เรียบร้อยในปี๒๔๙๗ ก็ไดด้า เนินการก่อสร้างศาลาการเปรียญของวดักลางบางพระซ่ึงใชร้ะยะเวลาในการ ก่อสร้างประมาณ ๓ ปี เศษ ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๐๖ ได้ท าการสร้างโรงเรียนปฐมศึกษาจ านวน ๑ หลังโดยได้รับทุนจากทางราชการเป็ น บางส่วน จากน้นั ไดพ้ ฒั นาวดักลางบางพระมาโดยลา ดบั ซ่ึงในตอนน้นั จะเป็นการปรับปรุงถมที่เสียส่วนมากเพราะวดั ค่อนขา้งลุ่มและไดพ้ ฒั นาวดัสร้างกุฏิจ านวน ๕ หลัง ในปีพ.ศ.๒๕๑๒ ต่อจากน้นัไดส้ร้างหอสวดมนตแ์ละฌาปน สถานข้ึนในปีพ.ศ.๒๕๑๒ สร้างโรงเรียนพระปริยตัิธรรมข้ึนในปีพ.ศ.๒๕๑๓ และหยดุ พกัมาช่วงระยะเวลาหน่ึง เพราะต้องปรับปรุงสถานที่วัดให้เป็ นที่ดอน เสริมถนนทา ทางลูกรังเขา้วดัสร้างวหิารและโรงครัวข้ึนอีกในปี พ.ศ.๒๕๒๔ ต่อมาท่านก็ไดด้า ริวา่ ต าบลบางพระควรมีพระพทุ ธรูปองคใ์หญ่ ตามนิมิตคา บอกกล่าวของเทวดาจึงได้ นา พทุ ธศาสนิกชนร่วมกนั สร้างและแล้วเสร็จเมื่อปีพ.ศ.๒๕๒๗ ซึ่งมีหน้าตักกว้างขนาด ๑๕ เมตร ๓๙ เซนติเมตร สูง ๓๐ เมตร ๓๙ เซนติเมตร ต่อมาก็ไดพ้ ฒั นาปรับปรุงวดัมาโดยลา ดบัโดยการสร้างกา แพงวดัดา้นทิศเหนือและ หน้าที่ ๓ ทิศตะวันตก ในปีพ.ศ.๒๕๓๓ ไดส้ร้างศาลาหอประชุมข้ึนอีก ๑ หลังและสร้างพระเกศจุฬามณีข้ึนในปีพ.ศ.๒๕๓๔ อีก ๑ หลัง ต่อมาเห็นวา่ ศาลาการเปรียญไม่พอกบัจา นวนญาติโยมที่มาทา บุญจึงไดส้ร้างข้ึนใหม่อีก ๑ หลังคู่กบั หลงั เดิม ในปีพ.ศ.๒๕๓๕ ในปีเดียวกนั น้นั นายช้นั นางผอ่ งกลนั่ สนิท ได้บริจาคที่ดินให้วัด จ านวน ๒ ไร่เศษ ทางทิศ ตะวันออกของวัด ซ่ึงเป็นที่ลุ่มหลวงพอ่ ท่านกไ็ดป้รับปรุงถมใหเ้ป็นพ้นืเดียวกนั จะเห็นไดว้า่ หลวงพอ่ ท่านเป็นผมู้ี ปฏิปทาต้งัมนั่ ในการพฒั นาวดั พัฒนาชุมชนให้เจริญ โดยผู้พุทธศาสนิกชนและลูกศิษยข์องหลวงพอ่ ไดร้่วมกนั บริจาค ทุนทรัพย์ในการปฏิสังขรณ์และก่อสร้างวดักลางบางพระให้เจริญรุ่งเรืองมาโดยลา ดบั ดงัที่เราท่านท้งัหลายไดเ้ห็นกนั อยทู่ ุกวนั น้ี หลวงพอ่ พฒุ เป็นพระที่เคร่งครัดในการปฏิบัติมีความเป็นอยแู่ บบเรียบง่ายไม่พถิีพถินั มากนกั ให้ความเป็ น กนั เองกบั บรรดาลูกศิษยท์ ุกคน และใหค้วามสา คญั ในการปกครองพระเณรในวดัใหอ้ยใู่ นกฎระเบียบวนิยัของสงฆ์ ตลอดจนการใหค้วามช่วยเหลือสาธุชนในดา้นต่างๆ ที่มาขอความช่วยเหลือจากท่าน เพอื่ ขอใหท้ ่านไดช้่วยแกไ้ขความ เดือดร้อนที่เกิดข้ึน หลวงพอ่ ท่านก็ไดใ้ชว้ชิาความรู้ที่ไดเ้ล่าเรียนมาจากพระคณาจารยท์ ี่ไดป้ระสิทธิประสาทวชิามาให้ เกิดประโยชน์แก่ผมู้ีความเดือดร้อนในละแวกตา บลและต่างตา บลจนเป็นที่เคารพศรัทธาของบุคคลทวั่ ไปเป็นที่เลื่องลือ ไปทวั่ อยา่ งไรก็ตามหลวงพอ่ พฒุ ท่านก็ไดส้ ่งเสริมชุมชนในดา้นต่างๆ ใหเ้กิดความร่มเยน็ เป็นสุขตลอดมา ในด้าน กิจกรรมของพระพทุ ธศาสนาน้นั หลวงพอ่ ไดจ้ดัส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ เช่น จัดพิธีวิสาขบูชา มาฆบูชาอาสาฬหบูชา การอบรมพระภิกษุสามเณรการอบรมศีลธรรมแก่ประชาชนและเหล่าศิษยานุศิษยใ์หไ้ดร้ับความร่มเยน็ เป็นสุขจดัต้งั หน่วยอบรมประชาชนประจ าต าบล(อ.ป.ต.) เป็ นต้น ในดา้นการศึกษาน้นั หลวงพอ่ ไดร้ับแต่งต้งัใหดู้งานการศึกษามาโดยล าดับคือ พ.ศ.๒๔๙๖ เป็ นครูสอนพระ ปริยัติธรรม เป็ นเจ้าส านักเรียนวัดกลางบางพระเป็ นกรรมการสอบธรรมสนามหลวง พ.ศ.๒๕๐๐ เป็ นกรรมการ อุปถัมภ์โรงเรียนวัดกลางบางพระ พ.ศ.๒๕๑๕ เป็ นกรรมการอุปถัมภ์โรงเรียนสหศึกษาบาลีองค์พระปฐมเจดีย์ พ.ศ.๒๕๒๙ เป็นประธานหน่วยอบรมประชาชนประจา ตา บล พ.ศ.๒๕๓๐ เป็นหน่วยรับพิเศษของเจา้คณะใหญ่หน กลางวัดสามพระยา จากคุณงามความดีทานได้สร้างสมปฏิบัติมาจึงได้รับพระราชทานสมศักดิ์ ตามล าดับ ่ คือได้รับพระราชทานเป็ น พระครูช้นั ประทวน ในนามพระครูพุฒ สุนฺทโรเมื่อ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๙ ได้รับพระราชทานเป็ นครูสัญญาบัตรช้นั ตรีในราชทินนาม พระครูสุนทรวุฒิคุณ เมื่อ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ได้รับพระราชทานเป็นพระครูสญั ญาบตัรช้นั โท เมื่อ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๘ ได้รับพระราชทานเป็นพระครูสญั ญาบตัรช้นั เอกเมื่อ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๓ ไดร้ับตราต้งัเป็นพระอุปัชฌายจ์ากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์เจา้คณะใหญ่หนกลาง เมื่อ ๒๒ กุมภาพันธ์๒๕๓๗ จะเห็นไดว้า่ ท่านเป็นผเู้ห็นความสา คญั ในการศึกษาการปกครองและต้งัใจจะทา นุบา รุงพระพทุ ธศาสนาโดยสนับสนุน การศึกษาท้งัทางโลกและทางธรรม ดงัที่กล่าวมาจนได้รับพระราชทานสมณะศักดิ์ มาโดยล าดับ ท้งัที่ท่านอายมุ ากแลว้ ท่านก็ยงัมีความมานะพยายามสอบจนไดเ้ป็นพระอุปัชฌาย์ท่านกล่าวไวเ้ป็นประโยคสา คญั วา่ "การศึกษาน้นั เป็นสิ่ง ส าคัญ ไม่มีใครแก่เกินเรียน" ท่านเป็นพระที่มีความพากเพยรี พยายาม ต้งัมนั่ จนประสพผลส าเร็จ ท้งัน้ีหลวงพอ่ ท่านก็ หน้าที่ ๔ ยังให้ความส าคัญที่จะบูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุภายในวัดกลางบางพระอยตู่ ลอด สิ่งใดที่มีความจา เป็นท่านก็จดัสร้าง ข้ึนมาใหม่ เพื่อมีไวใ้ชอ้ยา่ งเพยีงพอต่อไปในอนาคต ท่านเป็นผทู้ี่มองการไกลตลอด ก่อนจะท าอะไรท่านตอ้งเตรียมตวั ไวก้่อนเสมอทุกเรื่อง แมท้ ่านเป็นผทู้ี่มีอายมุ ากแต่ท่านตอ้งอ่านหนงัสือทุกวนั เป็นกิจวตัรและทบทวนบทสวดต่างๆ เพราะท่านบอกวา่ "คนแก่มกัลืมง่ายตอ้งหมนั่ ทวน" หลวงพอ่ พฒุ ท่านเป็นเถระที่เคร่งครัดในธรรมและคาถาอาคม กิจวตัรของหลวงพอ่ คือการไหว้พระสวดมนต์ ปฏิบัติวิปัสสนาทุกวัน เช้า เย็น มิเคยขาด นอกจากน้ีท่านยงัทบทวนวชิาความรู้ที่ท่านไดศ้ึกษาเล่าเรียนมาจากอาจารย์คือ หลวงพอ่ หิ่มวดับางพระ หลวงพอ่ แช่มวดัตากอ้ง หลวงพอ่ กี๋วดัหูชา้ง หลวงพอ่ เพมิ่ วดักลางบางแกว้ และ หลวงพอ่ นอ้ยวดัศรีษะทอง ประชาชนทวั่ ไปใหค้วามเคารพเลื่อมใสศรัทธาต่อท่าน ผู้เปี่ ยมด้วยเมตตาธรรม ใครมีความ เดือดร้อนท่านก็ช่วยเหลือทุกคนไม่แบ่งช้นัวรรณะ พดูจาเป็นกนั เอง มึงกูเป็นเอกลกัษณ์ของท่าน นอกจากน้ีทา่ นยงั ไดร้ับนิมนตไ์ปในงานพทุ ธาภิเษกต่างๆอยเู่สมอในช่วงสิบปีก่อนที่ท่านจะมรณภาพไดร้ับกิจนิมนตพ์ ทุ ธาภิเษกมาแลว้ ทวั่ ประเทศจนเป็นที่รู้จกักนั ทวั่ ไป ใครมานิมนตท์ ่านมิเคยขดั จนไดร้ับสมญานามวา่ "เทพเจา้แห่งความเมตตา" วัตถุ มงคลของหลวงพอ่ ที่สร้างออกมาแตล่ ะรุ่น ลว้นแลว้แต่มีพทุ ธคุณสูงควรแก่การนา เก็บไวบ้ ูชาเป็นอยา่ งยงิ่ วตัถุมงคลที่ท่านสร้างไว้มีมากแต่ที่พอจะน ามากล่าวได้คือ เหรียญรุ่นแรก สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๕ แจกในคราวเปิ ดโรงเรียนวัดกลางบางพระเมื่อ ๙ มกราคม ๒๕๐๙ เป็ น เหรียญรูปทรงเสมาหลวงพอ่ หนา้ตรงเครื่ององค์เห็นสังฆาฏิท าด้วยสตางค์แดงผสมทองแดงและอีกชนิดหนึ่งท าด้วย ทองเหลืองฝาบาตรซึ่งเป็นพมิพเ์ดียวกนั หนา้เหรียญเขียนวา่ "พระอธิการพุฒ สุนทฺโร"ซึ่งในปัจจุบันหายากพอสมควร เหรียญรุ่นที่สอง สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๓ เมื่อคร้ังรับพระราชทานเป็นพระครูสญั ญาบตัรช้นั ตรีเป็ นเหรียญเต็ม องค์ นงั่ ขดัสมาธิเขียนใตฐ้านวา่ "พระครูสุนทรวุฒิคุณ" บนเขียนวา่ “วัดกลางบางพระ” เหรียญรุ่นที่สาม เป็ นเหรียญเสมา สร้างข้ึนเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๒ เป็นเหรียญรูปหล่อหลวงพอ่ คร่ึงองค์สร้างเป็ นที่ ระลึกในงานฉลองพระครูสญั ญาบตัรช้นัโท เหรียญรุ่นที่สี่ เป็นเหรียญกลมหลวงพอ่ คร่ึงองค์ด้านหลังเป็ นหนังเสือวงกลม สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๘ เหรียญรุ่นที่ห้า เสมารูปหลวงพอ่ เตม็องค์นงถือไม้เท้า ั่ ด้านหลังเขียน “ที่ระลึกในงานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็ นพระ ครูช้นั เอก” สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๓ เหรียญรุ่นที่หกเป็นเหรียญเสมาหลวงพอ่ เตม็องค์นงั่ ทบั ปืนและลูกระเบิด ซึ่งเป็ นเหรียญยอดนิยมที่ชาวบ้าน เรียกกนัวา่ "เหรียญปื นไขว้" หรือเหรียญนงั่ ทบั ปืน สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๓ หน้าที่ ๕ เหรียญรุ่นที่เจ็ด เป็นเหรียญเสมารูปหลวงพอ่ คร่ึงองค์ดา้นหนา้เขียนวา่ "หลวงพอ่ พฒุ อายุ๘๐ปี" สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๓ เหรียญรุ่นที่แปด เป็นเหรียญรูปไข่หลวงพอ่ นงั่ เต็มองคถ์ือไมเ้ทา้ ดา้นหลงัเขียนวา่ “ที่ระลึกงานฉลองพระเกตุ จุฬามณี” สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๔ เหรียญรุ่นที่เก้า เป็นเหรียญเสมาหล่อปืนไขว้“นงั่ ทบั ปืน” มีท้งัเน้ือเงิน เน้ือนวะ และเน้ือทองแดง สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๕ เหรียญรุ่นที่สิบ เป็นเหรียญกงจกัรหลวงพอ่ นงั่ ทบั ปืน สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๗ เป็ นต้น นอกจากน้นัยงัมีววัธนูขนาดบูชาและห้อยคอ ราหูอมจันทร์แกะจากกะลาตาเดียวท้งัที่เป็นลูกและหอ้ยคอ พระผงรุ่นต่างๆ ตะกรุด สีผ้งึ และอื่นๆอีกมากที่หลวงพอ่ ท่านไดส้ร้างมอบให้ลูกศิษย์ที่มาทา บญุ ช่วยสร้างวดัตลอดมา พระครูสุนทรวุฒิคุณ หรือหลวงพอ่ พฒุ วัดกลางบางพระ ไดร้ับการยอมรับวา่ เป็นพระเกจิอาจารยร์ูปหน่ึงที่ มีศิษยานุศิษย์มาก ท่านมีความรู้เชี่ยวชาญในด้านโหราศาสตร์ แพทย์แผนโบราณ วิชาอาคม โดยนิสัยใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน ชอบคน้ควา้ตา หรับตา ราต่างๆ จึงทา ใหท้ ่านเป็นพระเกจิอาจารยร์ะดบัแนวหนา้ของเมืองไทยได้เขา้ร่วมพธิีปลุกเษกวัตถุ มงคลในงานพทุ ธาภิเษกมาแลว้ทวั่ ประเทศ สมณะสารูปของหลวงพอ่ พฒุ วัดกลางบางพระเรียบง่าย สมถะ มักน้อยใจดีมีเมตตา ท าให้ทุกคนรักและเคารพ ท่านเป็นเกจิอาจารยท์ ี่นิมนตง์่ายที่สุด ไม่ตอ้งมีพธิีรีตองให้เสียความรู้สึกการสนทนาก็มีความเป็นกนั เองอารมณ์ดีอยู่ เสมอคุณลักษณะทางธรรมของหลวงพอ่ คือความเพียรพยายามและความอดทน ความเอ้ืออาทรตอ่ ประโยชน์สุข ส่วนรวม ในช่วงบ้นั ปลายชีวิตของหลวงพอ่ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๑ หลวงพอ่ ไดด้า เนินการก่อสร้างอุโบสถ หลงัใหม่ ซ่ึงการก่อสร้างก็ยงัคงดา เนิน ต่อไปตามเจตนาของท่าน วันที่๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๒ หลวงพอ่ มีอาการเหนื่อยและอ่อนเพลียจึงไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลห้วย พลูรุ่งเชา้ของวนั ที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๒ หลวงพอ่ มีอาการดีข้ึนฉนัอาหารไดต้ามปกติพดูคุยกบัลูกศิษยท์ ุกคนที่ ไปเยี่ยม และไดส้งั่ งานการสร้างอุโบสถหลงัใหม่กบั พระมหาอภิชาติอภิญาโณ (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน) และนายสังวน แจ่มนิยม ไวยาวัจกรวัดกลางบางพระในเวลาบ่ายหลวงพอ่ เกิดอาการผดิปกติเนื่องจากเสน้ เลือดในสมองอุดตนัโดย ฉับพลัน คณะแพทยผ์ทู้ า การรักษาจึงไดย้า้ยหลวงพอ่ จากโรงพยาบาลห้วยพลูไปยังโรงพยาบาลสนามจันทร์วันที่๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๒ อาการของหลวงพอ่ ยงัทรงตวั รุ่งเชา้วนั ที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๒ เวลาประมาณ ๐๘.๔๕ น. หลวงพอ่ ไดถ้ึงแก่มรณภาพไปดว้ยอาการสงบ คณะศิษย์ยานุศิษย์ไดน้ า สงัขารของหลวงพอ่ กลบั มายงัวดักลางบางพระ และไดร้ับพระราชทานน้า สรงศพ จากพระบาทสมเด็จพระเจา้อยหู่ วั ในวันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๒ เวลา ๑๗.๐๐ น. อยา่ งสมเกียรติท่ามกลางความอาลยัของคณะศิษยาศิษย์ สิริรวมอายขุ องหลวงพอ่ ได้ ๘๘ ปี ๒ เดือน ๘ วัน หน้าที่ ๖ จึงนบั เป็นการสูญเสียคร้ังยงิ่ ใหญ่ของคณะศิษยานุศิษย์เหลือไวแ้ต่คุณงามความดีและคา สงั่ สอนของท่าน ที่ คณะศิษยานุศิษย์จะยึดถือปฏิบัติเพอื่ ใหเ้กิดความเป็นมงคลกบั ตวัเองครอบครัวและสังคมตลอดไป ประทีปธรรมลาล้างกลางบางพระ หลวงพ่อพฒุ มรณะละสังขาร ฝากความดีไว้ให้เห็นเป็ นพยาน พระเกจิอาจารย์ชาญอาคม อาลยัรักหลวงพ่อพฒุ วสิุทธ์ิสงฆ ์ ผู้มนั่ คงเข้มขลงับุญสั่งสม ส ารวมจิตกราบพร้อมน้อมประนม สู่ช้ันพรหมถงึทิพย ์ นิพพาน เทอญ. พระครูศรีสุตากร เจ้าอาวาสวัดกลางบางพระ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๐ หน้าที่ ๗ สรุปประวัติโดยย่อของพระครูสุนทรวุฒคิุณ(หลวงพ่อพฒุ สุนฺทโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดกลางบางพระ หลวงพอ่ พฒุ หรือพระครูสุนทรวุฒิคุณ มีนามเดิมวา่ พฒุ นามสกุลหาญสมัยเกิดเมื่อวนั ที่๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๓ ปี จอ ณ บ้านเลขที่๘ หมู่ที่๔ ต าบลบางพระอ าเภอนครชัยศรีจังหวัดนครปฐม จบการศึกษาสายสามญั ช้นั ประถมศึกษาปี ที่๔ จากโรงเรียนวัดบางพระอ าเภอนครชัยศรีจังหวัดนครปฐม ได้บรรพชาอุปสมบทเป็ นพระภิกษุเมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๙ ณ วัดบางพระอ าเภอนครชัยศรีจังหวัด นครปฐม โดยมี เจ้าอธิการหิ่ม อินฺทโชโต วัดบางพระ เป็ นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ทองอยู่ ปทุมรตโน วัดบางพระ เป็ นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์เปลี่ยน ฐิตธมฺโม วัดบางพระ เป็ นพระอนุสาวนาจารย์ การศึกษา สอบไดน้กัธรรมช้นั เอก พ.ศ.๒๕๓๕ ส านักเรียนคณะจังหวัดนครปฐม ต าแหน่งหน้าที่ทางคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๔๙๕ เป็ นครูสอนพระปริยัติธรรม พ.ศ.๒๔๙๗ เป็ นเจ้าอาวาสวัดกลางบางพระ พ.ศ.๒๕๙๗ เป็ นพระกรรมวาจานุสาวนาจารย์ พ.ศ.๒๕๓๗ เป็นพระอุปัชฌายใ์นตา แหน่งเจาอาวาส ้ การศึกษาอื่นๆ เป็นผชู้า นาญในดา้นนวกรรมการก่อสร้างอีกท้งัยงัเป็นผูช้า นาญเรื่องยาสมุนไพร สมณศักดิ์ พ.ศ.๒๕๐๙ เป็นครูช้นั ประทวน ชื่อพระครูพุฒ สุนฺทโร พ.ศ.๒๕๑๓ เป็นครูสญั ญาบตัรช้นั ตรีในราชทินนามที่"พระครูสุนทรวุฒิคุณ" พ.ศ.๒๕๑๘ เป็นพระครูสญั ญาบตัรช้นโท ั ในราชทินนามเดิม พ.ศ.๒๕๓๓ เป็นพระครูสญั ญาบตัรช้นั เอก ในราชทินนามเดิม พระครูศรีสุตากร เจ้าอาวาสวัดกลางบางพระ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๐

บริเวณสำคัญภายในวัดกลางบางพระ

bottom of page